ใช้กำหนดย่อหน้าให้กับประโยคข้อความ โดยมีแอตตริบิวต์(Attribute) "align" สำหรับจัดว่างตำแหน่งข้อความ
ตัวอย่าง <p align="right"> หมายความว่า ให้ย่อหน้าดังกล่าวจัดรูปแบบในลักษณะชิดขวา
ใช้สำหรับ "ปัดบรรทัดใหม่"
ใช้สำหรับ "จัดรูปแบบรายงานให้เป็นไปตามที่พิมพ์ในเอกสาร"
สัญลักษณ์ "?" หมายถึง ตัวเลข 1 - 6
ใช้สำหรับ "กำหนดหัวเรื่อง" โดยมีขนาดตัวอักษรตามตัวเลขที่กำหนดคือ 1 - 6 ตัวอย่าง <h2>...</h2>
เป็นการ "ระบุข้อความเพื่ออธิบายโปรแกรมหรือระบุหมายเหตุในเอกสาร HTML" ซึ่งข้อความที่ระบุอยู่ในแท็กดังกล่าว เบราเซอร์จะไม่นำมาแสดงผล ตัวอย่าง <h2>...</h2>
ใช้สำหรับ "ตีเส้นคั่นแนวนอน"
ใช้สำหรับ "กำหนดสีให้กับฉากหลัง" ตัวอย่าง <body bgcolor="ํYellow">
ใช้สำหรับ "กำหนดสีให้กับตัวอักษร"
ชื่อสีสามารถกำหนดเป็นข้อความที่เป็นชื่อสี หรือพิมพ์ # ตามด้วยรหัสเลขฐานสิบหก
ตัวอย่าง <font color="ํgreen">
ใช้สำหรับ "กำหนดขนาดตัวอักษร" ตัวอย่าง <font size="ํ5">
ใช้สำหรับ "เปลี่ยนชนิดตัวอักษร" ตัวอย่าง <font face="ํArial">
ใช้กำหนดข้อความให้เป็น "ตัวหนา"
ใช้กำหนดข้อความให้เป็น "ตัวเอียง"
ใช้กำหนดข้อความให้เป็น "ขีดเส้นใต้"
ใช้ "ขีดฆ่าข้อความ" และ "แทรกข้อความ"
ใช้กำหนด "ตัวยก" เช่น เลขยกกำลัง เป็นต้น
ใช้กำหนด "ตัวห้อย"
คือ รายการต่างๆ หรือขั้นตอนกิจกรรมต่างๆ ที่มีลำดับชัดเจน โดยมีรูปแบบดังนี้
List แบบเรียงลำดับ
ใช้แท็ก <ol><li> รายการข้อมูล </li></ol>
กำหนดลำดับเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือตัวอักษรโรมันได้
List แบบไม่เรียงลำดับ
ใช้แท็ก <ul><li> รายการข้อมูล </li></ul>
จะใช้เครื่องหมายกำกับหัวข้อ (ฺBulledted) แทนเลขลำดับ
List แบบนิยามความหมาย (นิยมใช้เพื่ออธิบายคำศัพท์)
เปิดแท็กด้วย <dl><dt> ตามด้วยคำศัพท์
ปิดแท็กช่วงแรกด้วย </dt><dd> ตามด้วยความหมายคำศัพท์
ปิดแท็กช่วงสองด้วย </dd></dl>
กรณีเอกสาร HTML ต้องการแสดงผลอักขระพิเศษ ซึ่งไม่ปรากฏอยู่บนแป้นพิมพ์ สามารถใช้อักขระพิเศษได้ด้วยการพิมพ์เครื่องหมาย "&" ตามด้วย "ชื่อรหัส" ที่ต้องการ แล้วปิดด้วยเครื่องหมาย ";" ตัวอย่างเช่น © (หมายถึงให้แสดงสัญลักษณ์ลิขสิทธิ์) เป็นต้น
แหล่งข้อมูล : หนังสือพื้นฐานการสร้างเว็บไซต์ รหัส 2128-2011
ผู้แต่ง : โอภาส เอียมสิริวงศ์